วันเสาร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2556

ไกลแค่ไหน คือ ใกล้ - getsunova [Official MV]



     เหตุผลที่ชอบเพลง ไกลแค่ไหนคือใกล้เพราะเนื้อหาของเพลงมีความหมายที่สื่ออกมาโดย การเดินทางออกมาจากบ้านที่ให้ความอบอุ่น ที่มอบความรักที่สวยงามตลอดเวลา เพื่อมาทำตามความฝันของเราเอง ยิ่งเดินหน้าเข้าหาความฝันไปทำไมเส้นทางยาวนานเหลือเกิน และอีกนานเท่าไหร่ที่ความฝันเราจะเป็นจริง และอีกไกลแค่ไหนความฝันเราจะสวยงามและสมหวัง

... แต่บางคนเพลงนี้มองออกมา...เป็นความรักของหนุ่มสาวคู่หนึ่ง....


(สำหรับเพลงนี้.... ฉันมองออกมาเป็นการที่เราเดินออกมาจากที่ที่เรารักหรือคนที่เรารัก เราจะกลับไปหาเขาอีกครั้ง แต่ทำเหมือนระยะทางยิ่งไกลและยาวนาน  เหมือนเดินเข้าไปก็ยิ่งไกลมากเท่านั้น)

เนื้อเพลง...
พยายามจะทำวิธีต่างๆ ให้เธอนั้นรักฉัน
พยายามทุกวัน มอบให้ทุกอย่างที่เธอต้องการ
เหมือนเดินบนสะพานที่มีปลายทางคือใจของเธอ
ยังคงคิดและหวังจะนำเอารักแท้นี้ไปให้

แต่ทำไม เดินมาเนิ่นนานไม่ถึงซักที
แต่ทำไม มองดูเส้นทางเหมือนยาวออกไป
อยากรู้ว่าฉันต้องทำตัวอย่างไร

อีกไกลแค่ไหน จนกว่าฉันจะใกล้ บอกที
อีกไกลแค่ไหนจนกว่าเธอจะรักฉัน เสียที
มีทางใดที่อาจทำให้เธอสนใจ ได้โปรด
บอกกับฉันให้รู้ที ว่าสุดท้ายแล้วฉันยังมีความหมาย

ยังไม่คิดยอมแพ้ ฉันเพียงแต่อ้อนล้าก็เท่านั้น
ภายในใจยังคงรักเธอเหมือนเดิม ไม่เคยเปลี่ยน
คงจะดีไม่น้อย ถ้าเธอบอกให้ฉันได้รับรู้
ความในใจของเธอ เหตุผลต่างต่างที่ยังซ่อนไว้

ว่าทำไมเดินมาเนิ่นนานไม่ถึงซักที
แต่ทำไม มองดูเส้นทางเหมือนยาวออกไป
อยากรู้ว่าฉันต้องทำตัวอย่างไร

อีกไกลแค่ไหน จนกว่าฉันจะใกล้ บอกที
อีกไกลแค่ไหนจนกว่าเธอจะรักฉัน เสียที
มีทางใดที่อาจทำให้เธอสนใจ ได้โปรด
บอกกับฉันให้รู้ที ว่าสุดท้ายแล้วฉันยังมีความหมาย
มีความหมาย

อีกไกลแค่ไหน จนกว่าฉันจะใกล้ บอกที
อีกไกลแค่ไหนจนกว่าเธอจะรักฉัน เสียที
มีทางใดที่อาจทำให้เธอสนใจ ได้โปรด
บอกกับฉันให้รู้ที ว่าสุดท้ายแล้วฉันยังมีความหมาย

อีกไกลแค่ไหน จนกว่าฉันจะใกล้ บอกที
อีกไกลแค่ไหนจนกว่าเธอจะรักฉัน
มีทางใดที่อาจทำให้เธอสนใจ ได้โปรด
บอกกับฉันให้รู้ที ว่าสุดท้ายแล้วฉันยังมีความหมาย

















http://www.youtube.com/watch?v=7i2ILcDlYU8



ข่าวเทคโนโลยี

Google ล่ม 5 นาที คาดสูญเงิน 5.45 แสนเหรียญสหรัฐฯ

         

updated: 18 ส.ค. 2556 เวลา 22:30:14 น.
ประชาชาติธุรกิจออนไลน์
เว็บไซต์ด้านไอที Thumbsup.in.th ได้นำเสนอบทความอ้างอิงจากสำนักข่าว Venture Beat รายงานวิกฤติเครือข่ายล่มที่เกิดขึ้นกับ Google ว่ากินเวลา 5 นาที โดยทีมงาน Venture Beat และผู้ใช้งานทั่วไปที่โพสต์ข้อความรายงานบน Twitter วันที่ 16 สิงหาคมตั้งแต่ช่วงเวลา 3:50 p.m. ถึง 3:55 p.m. (Pacific Time หรือตรงกับเวลาไทยตอน 05.50-05.55 น. ของวันที่ 17 สิงหาคม 2556
ด้วยปริมาณการใช้งานมหาศาลทำให้เสิร์ชเอนจิ นยักษ์ใหญ่ระดับโลก “Google” ไม่สามารถใช้งานได้นานนับ 5 นาที เบื้องต้น สื่ออเมริกันคาดว่าการ ล่ม 5 นาทีของ Google อาจทำให้กูเกิลสูญรายได้มากกว่า 545,000 เหรียญสหรัฐฯ หรือคิดเป็นเงินไทยกว่า 16 ล้านบาท
รายงานระบุว่า เหตุ Google ล่มครั้งนี้มีผลกระทบต่อทุกบริการของ Google ทั้งหน้าเว็บไซต์หลัก Google.com, บริการ YouTube, บริการ Google Drive และบริการเมลล์ Gmail และจากการศึกษาของผู้เชี่ยวชาญด้านเสิร์ชเอนจิ้นอย่าง Danny Sullivan พบว่าวิกฤติเครือข่ายครั้งนี้ถือเป็นปัญหาครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ โดยหากพิจารณาช่วงเดือนเมษายนที่ผ่านมา แม้บริการ Gmail และ Google Drive จะเคยประสบปัญหาระบบล่มมาก่อน แต่หน้า Google.com นั้นยังสามารถใช้การได้ดีและไม่เคยมีปัญหาใดๆ
จุดนี้ Venture Beat เลยนำรายได้ของ Google ช่วงไตรมาส 2 ของปี 2013 มาคำนวณเพิ่มเติม จนพบว่าหากหารรายได้ 1.41 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐฯ ออกมาเป็นนาที จะสรุปได้ว่ายักษ์ใหญ่ Google เป็นบริษัทที่ทำรายได้มากกว่า 108,000 เหรียญสหรัฐฯ ต่อนาทีหรือประมาณ 3.4 ล้านบาท ซึ่งการที่ระบบล่มไปจนชาวออนไลน์ไม่สามารถคลิกโฆษณาบนบริการของ Google ได้นั้น อาจตีความเป็นจำนวนเงินได้ว่า Google มีโอกาสสูญเงินสูงกว่า 5 แสนเหรียญสหรัฐฯ
    เพื่อให้เห็นภาพ Venture Beat ยังเทียบว่าเงิน 545,000 เหรียญสหรัฐที่อาจจะหายไปในช่วงที่ Google ระบบล่ม 5 นาที นั้นสามารถซื้อรถหรู Lamborghinis ได้ถึง 2 คัน หรือเทียบเท่ารถไฟฟ้ายี่ห้อ Tesla ของซีอีโอ Larry Page จำนวน 5 คัน หรือสามารถซื้อแว่น Google Glass จำนวนมากกว่า 300 ชิ้น


ทั้งหมดนี้ถือเป็นสถิติน่ารู้ที่เชื่อว่า Google จะหาทางป้องกันไม่ให้เกิดวิกฤติการณ์เช่นนี้อีกในอนาคต เช่นเดียวกับบรรดาธุรกิจออนไลน์ที่ต้องระมัดระวังทุกลมหายใจจริงๆ




ที่มา thumbsup.in.th

วันเสาร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

กฏ Moore's law


Moore's law คืออะไร
 Moore’s law คือกฎที่อธิบายแนวโน้มของการพัฒนาฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์ในระยะยาว
 มีความว่าจำนวนทรานซิสเตอร์ที่สามารถบรรจุลงในชิพจะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า ในทุกๆสองปี Gordon E.Mooreผู้ก่อตั้ง Intel ซึ่งได้อธิบายแนวโน้มไว้ในรายงานของเขาในปี1965 จึงพบว่ากฎนี้แม่นยำ อาจเกิดขึ้นเนื่องอุตสาหกรรม semmicondutor นำกฎนี้ไปเป็นเป้าหมายในการวางแผน พัฒนาอุตสาหกรรมได้ Morre’s law เป็นปริมาณของทรานซิสเตอร์บนวงจรรวม จำนวนของทรานซิสเตอร์ ต่อตารางนิ้วบน แผงวงจรรวม  มีสองเท่าทุกปีตั้งแต่วงจรรวมถูกคิดค้น Moore presicted that this trend wood continue for the foreseeable future  มัวร์ที่คาดการณ์ว่าแนวโน้มจะดำเนินต่อไปในอนาคตอันใกล้ ในปีถัดไป, การก้าวชะลอตัวลงเล็กน้อย แต่ความหนาแน่นของข้อมูลได้เท่าประมาณทุก 18 เดือน

      กอร์ดอน มัวร์ เป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทอินเทลได้ใช้หลัก
การสังเกตตั้งกฎมัวร์
(Moore’s law) ขึ้น ซึ่งเขาบันทึกไว้ว่า ปริมาณของทรานซิสเตอร์บนวงจรรวม

กฎของมัวร์ (Moore's Law)   

   ในปี พ.ศ. 2490 วิลเลียมชอคเลย์และกลุ่มเพื่อนนักวิจัยที่สถาบัน เบลแล็ป ได้คิดค้นสิ่งที่สำคัญและเป็นประโยชน์ต่อชาวโลกมาก เป็นการเริ่มต้นก้าวเข้าสู่ยุคอิเล็กทรอนิคส์ที่เรียกว่า โซลิดสเตทเขาได้ตั้งชื่อสิ่งที ่ประดิษฐ์ขึ้นมาว่า "ทรานซิสเตอร์" แนวคิดในขณะนั้นต้องการควบคุมการไหลของกระแสไฟฟ้า ซึ่งสามารถทำได้ดีด้วยหลอดสุญญากาศแต่หลอดมี ขนาดใหญ่เทอะทะใช้กำลังงานไฟฟ้ามากทรานซิสเตอร์จึงเป็นอุปกรณ์ที่นำมาแทนหลอดสุญญากาศได้เป็นอย่างดีทำให้เกิดอุตสาหกรรมสาร กึ่งตัวนำตามมา และก้าวหน้าขึ้นเป็นลำดับ
    พ.ศ. 2508 อุตสาหกรรมผลิตอุปกรณ์สารกิ่งตัวได้แพร่หลาย

 มีบริษัทผู้ผลิตทรานซิสเตอร์จำนวนมากการประยุกต์ใช้งานวงจรอิเล็กทรอนิกส์  กว้างขวางขึ้น มีการนำมาใช้ในเครื่องจักร อุปกรณ์ต่าง ๆ ตั้งแต่ของใช้ในบ้าน จึงถึงในโรงงานอุตสาหกรรม
     การสร้างทรานซิสเตอร์มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง บริษัท แฟร์ซายด์ เซมิคอนดัคเตอร์เป็นบริษัทแรกที่เริ่มใช้เทคโนโลยีการผลิต ทรานซิสเตอร์แบบ    Planar หรือเจือสารเข้าทางแนวราบ เทคโนโลยีแบบของการสร้างไอซีในเวลาต่อมา จากหลักฐาน พบว่า บริษัทแฟร์ซายด์ได้ผลิตพลาน่าทรานซิสเตอร์ตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ. 2502 และบริษัทเท็กซัสอินสตรูเมนต์ได้ผลิตไอซีได้ในเวลาต่อมา และกอร์ดอนมัวร์กล่าวไว้ว่า จุดเริ่มต้นของกฎของมัวร์เริ่มต้นจากการเริ่มมีพลาน่าทรานซิสเตอร์ 


วันพุธที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

แทนชื่อด้วยรหัสSACII


KRITTIYA NIKORN
K (0100 1011)
R (0100 1011)
I (0100 1001)
T (0101 0100)
T (0101 0100)
I (0100 1001)
Y (0101 1001)
A (0100  0001)
space (0010 0000)
N (0100 1110)
I (0100 1001)
K (0100 1011) 
O (0100 1111)
R (0101 0010)
N (0100 1110)
             พื้นที่ที่ใช้ในการจัดเก็บ 15 ไบต์


วันอาทิตย์ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

รหัสASCII และรหัสUNICODE





รหัส ASCII

   รหัสAmericanคือAmericanStandard
Code for Information Interchange (ASCII) อ่านว่า แอส-กี้ เป็นรหัสที่พัฒนาขึ้นโดยสถาบันมาตรฐานแห่งชาติสหรัฐอเมริกา 
(American National Standard Institute: ANSI อ่านว่า แอน-ซาย) เรียกว่า ASCII Code ซึ่งเป็นที่นิยมในกลุ่มผู้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป รหัสนี้ได้มาจากรหัสขององค์กรมาตรฐานระหว่างประเทศ (InternationalStandardization Organization: ISO)

     ขนาด7บิต ซึ่งสามารถสร้างรหัสที่แตกต่าง กันได้ถึง128รหัส
(ตั้งแต่ 000 0000 ถึง 111 1111)โดยกำหนดให้32รหัสแรกเป็น 000 0000 ถึง 001 1111)ทำหน้าที่เป็นสั่งควบคุมเช่นรหัส 000 1010 แทนการเลื่อนบรรทัดในเคื่องพิมพ์เป็นต้นและอีก96รหัสถัดไป(32"95)ใช้แทนอักษรและสัญญาลักษณ์พิเศษอื่นรหัสASCIIใช้วิธีการกำหนดการแทนรหัสเป็นเลขฐานสิบหก ทำให้ง่ายต่อการจำและการใช้งาน

     นอกจากนั้นยังสามารถเขียนมนรูปของเลขฐานสิบหกได้ด้วย ดังนั้นASCII Codeจีงเป็ฯรหัสที่เขียนได้3แบบ เช่นอักษรAสามารถแทนเป็นรหัสได้ดังนี้

สัญลักษณ์
เลขฐานสิบ
เลขฐานสอง
เลขฐานสิบหก
A
65
100 0001
4 1
รหัส ASCII สามารถใช้แทนข้อมูลอักขระและคำสั่งได้มากขึ้น และมีการขยายเป็นรหัสแบบ 8 บิต
ตารางแสดงรหัสASCII


Unicode

ยูนิโค๊ด คือ รหัสคอมพิวเตอร์ใช้แทนตัวอักขระ สามารถใช้แทน ตัวอักษร,ตัวเลข,สัญลักษณ์ต่างๆ ได้มากกว่ารหัสแบบเก่าอย่าง  ASCII ซึ่งเก็บตัวอักษรได้สูงสุดเพียง 256 ตัว(รูปแบบ) โดย Unicode รุ่นปัจจุบันสามารถเก็บตัวอักษรได้ถึง 34,168 ตัวจากภาษาทั้งหมดทั่วโลก 24 ภาษา โดยไม่สนใจว่าเป็นแพลตฟอร์มใด ไม่ขึ้นกับโปรแกรมใด หรือภาษาใด unicodeได้ถูกนำไปใช้โดยผู้นำในอุตสาหกรรมเช่นApple,hp.IBM,Microsoft,Unixฯลฯและแนวทางอย่างเป็นทางการในการทำISO/IEC
  10646 ดังนั้น Unicode จึงถือเป็นมาตรฐานในการกำหนดรหัส สำหรับทุกตัวอักษร ทุกอักขระ  unicode ทำให้ข้อมูลสามารถเคลื่อนย้ายไปมาในหลายๆ ระบบ ข้ามแพลตฟอร์มไปมา หรือข้ามโปรแกรมได้อย่างสะดวก โดยไร้ข้อจำกัด

Unicode ต่างจาก ASCII
 
คือ ASCII เก็บ byte เดียว แต่ Unicode เก็บ 2 byte ซึ่งข้อมูล 2 byte เก็บข้อมูลได้มากมายมหาศาล สามารถเก็บข้อมูลได้มากมายหลายภาษาในโลก
 

อย่างภาษาไทยก็อยู่ใน Unicode นี้ด้วยเหมือนกัน ดังนั้นรหัสภาษาไทยเอาไปเปิดในภาษาจีน ก็ยังเป็นภาษาไทยอยู่ ไม่ออกมาเป็นภาษาจีน เพราะว่ามี code ตายตัวอยู่ว่า code นี้จองไว้สำหรับภาษาไทย แล้ว code ตรงช่วงนั้นเป็นภาษาจีน ตรงโน่นเป็นภาษาญี่ปุ่น จะไม่ใช้ที่ซ้ำกัน เป็นต้น


 ตารางแสดงรหัสUnicode