วันเสาร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

กฏ Moore's law


Moore's law คืออะไร
 Moore’s law คือกฎที่อธิบายแนวโน้มของการพัฒนาฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์ในระยะยาว
 มีความว่าจำนวนทรานซิสเตอร์ที่สามารถบรรจุลงในชิพจะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า ในทุกๆสองปี Gordon E.Mooreผู้ก่อตั้ง Intel ซึ่งได้อธิบายแนวโน้มไว้ในรายงานของเขาในปี1965 จึงพบว่ากฎนี้แม่นยำ อาจเกิดขึ้นเนื่องอุตสาหกรรม semmicondutor นำกฎนี้ไปเป็นเป้าหมายในการวางแผน พัฒนาอุตสาหกรรมได้ Morre’s law เป็นปริมาณของทรานซิสเตอร์บนวงจรรวม จำนวนของทรานซิสเตอร์ ต่อตารางนิ้วบน แผงวงจรรวม  มีสองเท่าทุกปีตั้งแต่วงจรรวมถูกคิดค้น Moore presicted that this trend wood continue for the foreseeable future  มัวร์ที่คาดการณ์ว่าแนวโน้มจะดำเนินต่อไปในอนาคตอันใกล้ ในปีถัดไป, การก้าวชะลอตัวลงเล็กน้อย แต่ความหนาแน่นของข้อมูลได้เท่าประมาณทุก 18 เดือน

      กอร์ดอน มัวร์ เป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทอินเทลได้ใช้หลัก
การสังเกตตั้งกฎมัวร์
(Moore’s law) ขึ้น ซึ่งเขาบันทึกไว้ว่า ปริมาณของทรานซิสเตอร์บนวงจรรวม

กฎของมัวร์ (Moore's Law)   

   ในปี พ.ศ. 2490 วิลเลียมชอคเลย์และกลุ่มเพื่อนนักวิจัยที่สถาบัน เบลแล็ป ได้คิดค้นสิ่งที่สำคัญและเป็นประโยชน์ต่อชาวโลกมาก เป็นการเริ่มต้นก้าวเข้าสู่ยุคอิเล็กทรอนิคส์ที่เรียกว่า โซลิดสเตทเขาได้ตั้งชื่อสิ่งที ่ประดิษฐ์ขึ้นมาว่า "ทรานซิสเตอร์" แนวคิดในขณะนั้นต้องการควบคุมการไหลของกระแสไฟฟ้า ซึ่งสามารถทำได้ดีด้วยหลอดสุญญากาศแต่หลอดมี ขนาดใหญ่เทอะทะใช้กำลังงานไฟฟ้ามากทรานซิสเตอร์จึงเป็นอุปกรณ์ที่นำมาแทนหลอดสุญญากาศได้เป็นอย่างดีทำให้เกิดอุตสาหกรรมสาร กึ่งตัวนำตามมา และก้าวหน้าขึ้นเป็นลำดับ
    พ.ศ. 2508 อุตสาหกรรมผลิตอุปกรณ์สารกิ่งตัวได้แพร่หลาย

 มีบริษัทผู้ผลิตทรานซิสเตอร์จำนวนมากการประยุกต์ใช้งานวงจรอิเล็กทรอนิกส์  กว้างขวางขึ้น มีการนำมาใช้ในเครื่องจักร อุปกรณ์ต่าง ๆ ตั้งแต่ของใช้ในบ้าน จึงถึงในโรงงานอุตสาหกรรม
     การสร้างทรานซิสเตอร์มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง บริษัท แฟร์ซายด์ เซมิคอนดัคเตอร์เป็นบริษัทแรกที่เริ่มใช้เทคโนโลยีการผลิต ทรานซิสเตอร์แบบ    Planar หรือเจือสารเข้าทางแนวราบ เทคโนโลยีแบบของการสร้างไอซีในเวลาต่อมา จากหลักฐาน พบว่า บริษัทแฟร์ซายด์ได้ผลิตพลาน่าทรานซิสเตอร์ตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ. 2502 และบริษัทเท็กซัสอินสตรูเมนต์ได้ผลิตไอซีได้ในเวลาต่อมา และกอร์ดอนมัวร์กล่าวไว้ว่า จุดเริ่มต้นของกฎของมัวร์เริ่มต้นจากการเริ่มมีพลาน่าทรานซิสเตอร์ 


วันพุธที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

แทนชื่อด้วยรหัสSACII


KRITTIYA NIKORN
K (0100 1011)
R (0100 1011)
I (0100 1001)
T (0101 0100)
T (0101 0100)
I (0100 1001)
Y (0101 1001)
A (0100  0001)
space (0010 0000)
N (0100 1110)
I (0100 1001)
K (0100 1011) 
O (0100 1111)
R (0101 0010)
N (0100 1110)
             พื้นที่ที่ใช้ในการจัดเก็บ 15 ไบต์


วันอาทิตย์ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

รหัสASCII และรหัสUNICODE





รหัส ASCII

   รหัสAmericanคือAmericanStandard
Code for Information Interchange (ASCII) อ่านว่า แอส-กี้ เป็นรหัสที่พัฒนาขึ้นโดยสถาบันมาตรฐานแห่งชาติสหรัฐอเมริกา 
(American National Standard Institute: ANSI อ่านว่า แอน-ซาย) เรียกว่า ASCII Code ซึ่งเป็นที่นิยมในกลุ่มผู้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป รหัสนี้ได้มาจากรหัสขององค์กรมาตรฐานระหว่างประเทศ (InternationalStandardization Organization: ISO)

     ขนาด7บิต ซึ่งสามารถสร้างรหัสที่แตกต่าง กันได้ถึง128รหัส
(ตั้งแต่ 000 0000 ถึง 111 1111)โดยกำหนดให้32รหัสแรกเป็น 000 0000 ถึง 001 1111)ทำหน้าที่เป็นสั่งควบคุมเช่นรหัส 000 1010 แทนการเลื่อนบรรทัดในเคื่องพิมพ์เป็นต้นและอีก96รหัสถัดไป(32"95)ใช้แทนอักษรและสัญญาลักษณ์พิเศษอื่นรหัสASCIIใช้วิธีการกำหนดการแทนรหัสเป็นเลขฐานสิบหก ทำให้ง่ายต่อการจำและการใช้งาน

     นอกจากนั้นยังสามารถเขียนมนรูปของเลขฐานสิบหกได้ด้วย ดังนั้นASCII Codeจีงเป็ฯรหัสที่เขียนได้3แบบ เช่นอักษรAสามารถแทนเป็นรหัสได้ดังนี้

สัญลักษณ์
เลขฐานสิบ
เลขฐานสอง
เลขฐานสิบหก
A
65
100 0001
4 1
รหัส ASCII สามารถใช้แทนข้อมูลอักขระและคำสั่งได้มากขึ้น และมีการขยายเป็นรหัสแบบ 8 บิต
ตารางแสดงรหัสASCII


Unicode

ยูนิโค๊ด คือ รหัสคอมพิวเตอร์ใช้แทนตัวอักขระ สามารถใช้แทน ตัวอักษร,ตัวเลข,สัญลักษณ์ต่างๆ ได้มากกว่ารหัสแบบเก่าอย่าง  ASCII ซึ่งเก็บตัวอักษรได้สูงสุดเพียง 256 ตัว(รูปแบบ) โดย Unicode รุ่นปัจจุบันสามารถเก็บตัวอักษรได้ถึง 34,168 ตัวจากภาษาทั้งหมดทั่วโลก 24 ภาษา โดยไม่สนใจว่าเป็นแพลตฟอร์มใด ไม่ขึ้นกับโปรแกรมใด หรือภาษาใด unicodeได้ถูกนำไปใช้โดยผู้นำในอุตสาหกรรมเช่นApple,hp.IBM,Microsoft,Unixฯลฯและแนวทางอย่างเป็นทางการในการทำISO/IEC
  10646 ดังนั้น Unicode จึงถือเป็นมาตรฐานในการกำหนดรหัส สำหรับทุกตัวอักษร ทุกอักขระ  unicode ทำให้ข้อมูลสามารถเคลื่อนย้ายไปมาในหลายๆ ระบบ ข้ามแพลตฟอร์มไปมา หรือข้ามโปรแกรมได้อย่างสะดวก โดยไร้ข้อจำกัด

Unicode ต่างจาก ASCII
 
คือ ASCII เก็บ byte เดียว แต่ Unicode เก็บ 2 byte ซึ่งข้อมูล 2 byte เก็บข้อมูลได้มากมายมหาศาล สามารถเก็บข้อมูลได้มากมายหลายภาษาในโลก
 

อย่างภาษาไทยก็อยู่ใน Unicode นี้ด้วยเหมือนกัน ดังนั้นรหัสภาษาไทยเอาไปเปิดในภาษาจีน ก็ยังเป็นภาษาไทยอยู่ ไม่ออกมาเป็นภาษาจีน เพราะว่ามี code ตายตัวอยู่ว่า code นี้จองไว้สำหรับภาษาไทย แล้ว code ตรงช่วงนั้นเป็นภาษาจีน ตรงโน่นเป็นภาษาญี่ปุ่น จะไม่ใช้ที่ซ้ำกัน เป็นต้น


 ตารางแสดงรหัสUnicode





วันพฤหัสบดีที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

แบบทดสอบเรื่อง การทำงานภายในระบบคอมพิวเตอร์

แบบทดสอบเรื่องการทำงานภายในระบบคอมพิวเตอร์คลิ๊กที่นี่

บิตตรวจสอบ (Parity Bit)


 บิตตรวจสอบ(Parity Bit)
  บิตตรวจสอบหมายถึง ความผิดพลาดต่ำที่มีค่าเป็น0หรือ1แต่อาจเกิดข้อบกพร่องขึ้นได้ภายในหน่วยความจำ

     จึงเป็นบิตที่เพิ่มเข้าไปในข้อมูลโดยไม่จำเป็นว่าจะต้องนำไปต่อท้ายหรือขึ้นต้นเพื่อทำให้แน่ใจว่าบิตที่เป็นค่า1ในข้อมูลมีจำนวนเป็นเลขคู่และเลขคี่การใช้แพริตีบิตเป็นวิธีที่ง่ายในการตรวจจับและแก้ไขความผิดพลาด

มีวิธีการตรวจสอบอยู่2วิธี
1.การตรวจสอบบิตภาวะคู่(Even Parity) จะมีค่าเป็น1เมื่อจำนวนของเลข1ในข้อมูลเป็นจำนวนคี่
2.การตรวจสอบบิตภาวะคี่(Odd Parity) จะมีค่าเป็น1เมื่อจำนวนของเลข1ในข้อมูลเป็นจำนวนคู่